บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

ใบงานที่ 10 เรื่องคำสั่งของ HTML

รูปภาพ
ใบงานที่ 10  เรื่องคำสั่งของ HTML เรียนรู้คำสั่งภาษา HTML       ภาษา HTML นั้นไม่ได้มีรูปแบบเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ยากจะเข้าใจ เช่น ภาษา C, Pascal, Java เป็นต้น เพราะภาษา HTML มีรูปแบบคำสั่งง่ายๆ คล้ายกับภาษาที่ใช้กันอยู่ทั่วๆไป เป็นรูปแบบตายตัว และเข้าใจง่าย โดยภาษา HTML นั้น จะมีการใช้คำสั่งอยู่ภายใต้ เครื่องหมาย < > และจะใช้ เครื่องหมาย / เพื่อจบคำสั่งนั้นๆ โดยหลักในการเขียนเว็บเพจนั้นผมขอเสนอแนะขั้นตอน ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการสร้างเว็บเพจ ดังต่อไปนี้ 1. สิ่งที่ต้องการนำเสนอ ผู้พัฒนาจะต้องเตรียมข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการนำมาเสนอลงบน Webpage โดยผู้พัฒนาอาจสร้างทีมงานขึ้นมาและแบ่งหน้าที่ในการทำงาน เช่น การหาข้อมูลข่าวสาร, การแบ่งหน้าที่ในการเขียน HTML รวมไปถึงการ Update ข้อมูลบนเว็บ เป็นต้น 2. สร้างโครงร่างคร่าวๆ ลงในกระดาษ ผู้พัฒนาควรวาดโครงร่างรูปแบบของ Webpage คร่าวๆลงในกระดาษก่อนเพื่อดูรูปแบบโดยรวมแบบกว้างๆ ของหน้าจอเรา ว่าควรจะมีโครงสร้างแบบไหน ใช้รูปภาพและข้อความอะไร วางไว้ตำแหน่งไหนบนหน้าจอบ้าง 3. เริ่มเขียน Webpage เริ่มต้นเขียน Webpage โด...

ใบงานที่ 9 ความหมายของ HTML

รูปภาพ
ใบงานที่ 9  ความหมายของ HTML HTML คืออะไร??             HTML (HyperText Markup Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ใน การเขียนเว็บเพจ ถูกเรียกดูผ่านเว็บบราวเซอร์ เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ในปีค.ศ.1990 HTML เป็นมาตรฐานที่จัดการโดย World Wide Web Consortium แต่ปัจจุบัน W3C ผลักดัน XHTML ที่ใช้ XML มาทดแทน HTML รุ่น 4.01 HTML ย่อมาจากค าว่า “HyperText Markup Language” เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมภาษาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ที่แสดงผลในลักษณะของเว็บเพจ ซึ่งสามารถแสดงผลได้ใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าเป็นภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือการเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆ ภาษา HTML เป็นภาษาที่มีลักษณะของโค้ด กล่าวคือ จะเป็นไฟล์ที่เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ในมาตรฐานของรหัสแอสกี (ASCII Code) โดยเขียนอยู่ในรูปแบบของเอกสารข้อความ จึงสามารถ ก าหนดรูปแบบและโครงสร้างได้ง่าย           ภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมข้อมูล ที่ใช้แสดงผลบนเครือข่ายอินเตอร์เ...

ใบงานเรื่อง ผังงาน ( Flowchart )

ผังงาน Flowchart from Ratchakorn Ice

ใบงานที่5 อัลกอลิทึม(Algorithm)

รูปภาพ
ใบงานที่5 อัลกอลิทึม(Algorithm)     1. อัลกอลิทึม หมายถึง กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร กระบวนการนี้ประกอบด้วยจะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซำอีก จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน Algorithm ไม่ใช่คำตอบแต่เป็นชุดคำสั่งที่ทำให้ได้คำตอบ วิธีการในการอธิบาย Algorithm ได้แก่     1.Natural Language อธิบายแบบใช้ภาษาที่เราสื่อสารกันทั่วไป     2.Pseudocode อธิบายด้วยรหัสจำลองหรือรหัสเทียม     3.Flowchart อธิบายด้วยแผนผัง 2. ลักษณะของอัลกอลิทึม              อัลกอริทึมหรือขั้นตอนวิธีการแกปัญหา เป็นการจัดลำดับความคิดเป็นขั้นตอนต่างๆ เพื่อ แก้ไขปัญหาในขั้นตอนการเขียนโปรแกรมที่สอดคล้องกรรมวิธีแก้ปัญหาการเขียน อัลกอริทึมจึงเป็นการแสดงลำดับการทำงานตามคุณสมบัติด้านการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ที่ พร้อมจะนา ไปแปลงเป็นลำดับคำสั่งสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย ภา...

ใบงานที่7 การเขียนผังงาน(Flowchart)

รูปภาพ
ใบงานที่7 การเขียนผังงาน(Flowchart) ความหมายของผังงาน      ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่าการใช้ผังงาน ผังงานเป็นเครื่องมือแสดงขั้นตอนหรือกระบวนการทำงานโดยใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันซึ่งในสัญลักษณ์จะมีข้อความสั้น ๆ อธิบายข้อมูลที่ต้องใช้ผลลัพธ์หรือคำสั่งประมวลผลของขั้นตอนนั้น ๆ และเชื่อมโยงขั้นตอนเหล่านั้นด้วยเส้นที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการ ในการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีหลักการหรือขั้นตอนที่สาคัญทั้งหมด 5 ขั้นตอนได้แก่   1. การวิเคราะห์ปัญหา   2. การออกแบบโปรแกรม   3. การเขียนโปรแกรม   4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม   5.ทำเอกสารประกอบโปรแกรม        ดังนั้นก่อนที่จะลงมือเขียนโปรแกรมในขั้นตอนที่ 3 หลังจากทาการวิเคราะห์ปัญหาแล้ว จะต้องมีการออกแบบโปรแกรมเพื่อเป็นการวางแผนการ...

ใบงานที่ 6 การเขียนรหัสจำลอง ( Pseudo Code )

รูปภาพ
ใบงานที่ 6 การเขียนรหัสจำลอง( Pseudo Code )    การเขียนรหัสจำลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความ หมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้    โครงสร้างของรหัสจำลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั้นตอนการทำงานโดยใช้คำสั่งต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คำสั่ง read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่กำหนดไว้ คำสั่ง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทำงาน การเขียนรหัสจำลองจะต้องมีการวางแผนสำหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่จะต้องนำไปใช้ภายในโปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกำหนดค่าตัวแปร

MY PROFILE

รูปภาพ
ชื่อ  นาย รัชกร     มอญแก้ว ชื่อเล่น  ไอซ์ เกิดวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2543 อายุ 16 ปี งานอดิเรก  ฟังเพลง - เล่นฟุตบอล สิ่งที่ชอบ  ซ้อมฟุตบอล โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง

ใบงานที่ 2 เรื่อง การวิเคราห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

รูปภาพ
ใบงานที่ 2 เรื่อง การวิเคราห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา วิธีการดังนี้      1. วิเคราห์สิ่งที่ต้องการ โดยวิเคราห์ว่าต้องแก้ปัญหาอะไรบ้าง? ผลผลิตอะไร?หรืองานอะไร? แล้วกำหนดวัตถุประสงค์สิ่งที่ต้องการนั้น เช่น การแก้ปัญหาการขาดทุนของร้านเช่าหนังสือ            2. วิเคราห์ผลลัพธ์ ที่ต้องการโดยวิเคราะห์สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการแก้ปัญหาที่ต้องการมากกว่า 1 ข้อ เช่น มีความสะดวกรวดเร็วในการเช่าหนังสือ ป้องกันไม่ให้หนังสือหาย มีกำไรมากยิ่งขึ้น                3.  วิเคราะห์ทรัพยากร โดยคำนึงถึงทรัพยากรที่นำมาใช้แก้ปัญหาซึ่งควรเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้วเป็นหลัก เช่น วัสดุอุปกรณ์ ความรู้ของบุคลากร แรงงาน งบประมาณ       4. วิเคราะห์ตัวแปรหรือผลกระทบในด้านต่างๆ เช่น ทำไมหนังสือสูญหาย พนักงานไม่มาทำงานบ่อย       5. วิเคราห์วิธีการแก้ปัญหา เช่น เก็บค่าสมาชิกสูงขึ้น โดยผ่านกระบวนการความคิดเช่น ทำได้จริงหรือไม่ จะได้ผลลัพธ์ที่ดีหรือไม่

ใบงานที่ 4 เรื่อง การดำเนินการแก้ปัญหาในตารางปฏิบัติงาน

รูปภาพ
ใบงานที่ 4 เรื่อง การดำเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบและปรับปรุง 1.    การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ 2.   การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง

ใบงานที่ 3 เรื่อง การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน

รูปภาพ
ใบงานที่ 3 เรื่อง การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน 1. การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา : การกำหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา 2. การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน : เป็นการกำหนดขั้นแนวทางการแก้ปัญหาก่อนก่อนปฏิบัติจริง โดยจะต้องกำหนดขั้นตอนการฏิบัติงานเป็นลำดับขั้น แล้วนำมาระบุ ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาการปฏิบัติงานในตารางปฏิบัติงาน