แบบทดสอบห้อง ม.5/5
1.ทรัพย์สินทางปัญญา มีความหมายอย่างไร
ตอบ ทรัพย์สิน คือ วัตถุที่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เป็นต้น ปัญญา คือ ความรอบรู้ ความรู้ทั่วไปความฉลาดเกิดแต่เรียนและความคิด เมื่อรวมทั้ง 2 คำเข้าด้วยกัน ทรัพย์สินทางปัญญา จึงหมายถึงความรู้ที่เกิดจากการคิดค้นจนทำให้เกิดมีค่าขึ้นได้ หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ทรัพย์สินทางปัญญาได้แก่การที่ผู้ใดหรือคณะบุคคลใดร่วมกันประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบ สร้างสรรค์ จนเกิดผลขึ้นมา และผลงานนั้นมีคุณค่าสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งงานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม
2.สิทธิบัตร , ลิขสิทธิ์ หมายถึงอะไร แตกต่างกันอย่างไร
ตอบ อันดับแรกก็ต้องทำความเข้าใจก่อนว่าลิขสิทธิ์เป็นกฎหมายที่มีไว้คุ้มครองงานสร้างสรรค์ที่มีลักษณะเป็นงานศิลปกรรม วรรณกรรม งานถ่ายภาพ งานแพร่ภาพกระจายเสียง หรืองานทางด้านศิลปะอื่นๆ ซึ่งมีระบุไว้ในพรบ.ลิขสิทธิ์ ดังต่อไปนี้ ครับ
งานวรรณกรรม (รวมไปถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
งานการแสดง
งานวิจิตรศิลป์ ศิลปกรรม ได้แก่
ภาพวาด
ประติมากรรม
งานพิมพ์
งานตกแต่งสถาปัตย์
ภาพถ่าย
ภาพวาดเขียน แผนที่ ภาพร่าง
งานประยุกตศิลป์ (งานประยุกตศิลป์ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 25 ปีหลังจากวันจัดสร้าง)
งานดนตรี
งานสิ่งบันทึกเสียง (เทป ซีดี)
งานโสตทัศนวัสดุ (วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง)
งานภาพยนตร์
งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ
สำหรับสิทธิบัตรนั้นมีไว้เพื่อคุ้มครองงานประดิษฐ์ งานออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืองานวิจัย ซึ่งจะต้องมีประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสามารถผลิตได้ในระบบอุตสาหกรรมด้วย
เพื่อให้ชัดเจนขึ้นผมขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้ครับ
หนังสือและงานประพันธ์ต่างๆ ถือเป็นงานลิขสิทธิ์
หากเราแต่งหนังสือขึ้นมาสักเล่มหนึ่ง แล้วต้องการจดทะเบียนไม่ให้มีใคร copy เนื้อหา หรือทำซ้ำลอกเลียนหนังสือของเรา อันนี้จะถือเป็นงานลิขสิทธิ์และต้องจดเป็นลิขสิทธิ์ครับเพราะถือเป็นงานวรรณกรรม งานประพันธ์
งานประดิษฐ์และงานวิจัยต่างๆ ถือเป็นงานสิทธิบัตร
หากเราแต่งหนังสือขึ้นมาสักเล่มหนึ่ง แล้วต้องการจดทะเบียนไม่ให้มีใคร copy เนื้อหา หรือทำซ้ำลอกเลียนหนังสือของเรา อันนี้จะถือเป็นงานลิขสิทธิ์และต้องจดเป็นลิขสิทธิ์ครับเพราะถือเป็นงานวรรณกรรม งานประพันธ์
โลโก้ต้องจดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้า
ทีนี้หลายคนก็จะเกิดความสงสัยว่าแล้วถ้าออกแบบโลโก้ ออกแบบแบรนด์ขึ้นมาแล้วเราจะสามารถจดเป็นสิทธิบัตรหรือลิขสิทธิ์ดีก็ต้องขอบอกไว้ตรงนี้เลยว่าโลโก้หรือแบรนด์ที่ต้องการที่จะจดทะเบียนเพื่อใช้เป็นเครื่องหมายการค้านั้นจะไม่สามารถจดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรได้ครับเพราะจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าแยกต่างหาก เพราะถึงแม้ว่าโลโก้นั้นจะเป็นภาพวาดหรือลายกราฟิกซึ่งน่าจะได้รับการคุ้มครองตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ แต่วัตถุประสงค์นั้นมีไว้เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายการค้า ดังนั้นก็ต้องจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าจึงจะได้รับความคุ้มครองครับ
สรุปง่ายๆ ก็คือถ้าต้องการออกแบบโลโก้และใช้เป็นเครื่องหมายการค้าหรือใช้เป็นแบรนด์ของเราแบบนี้ก็ต้องจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าไปเลยครับ แต่ถ้าเราประดิษฐ์อะไรขึ้นมาได้ มีงานวิจัยหรืองานออกแบบผลิตภัณฑ์ให้จดสิทธิบัตรไปเลยครับ แต่ถ้าเกิดว่าเรามีงานประพันธ์ วรรณกรรม ภาพวาด ภาพถ่าย งานแต่งเพลง หรืองานศิลปะอื่นๆ ก็ให้จดลิขสิทธิ์ไปเลยครับ
อย่างไรก็ตามลิขสิทธิ์นั้นแตกต่างกับเรื่องสิทธิบัตรหรือเครื่องหมายการค้าอยู่เล็กน้อยตรงที่งานลิขสิทธิ์จะได้รับความคุ้มครองทันทีเมื่อมีการสร้างขึ้นมา ซึ่งจริงๆ แล้วไม่จำเป็นต้องไปจดทะเบียนก็ได้ครับแต่ถ้าเกิดว่าเราต้องการหลักฐานว่าเราเป็นผู้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้นมาจริงเพื่อเอาไปใช้เป็นหลักฐานก็สามารถทำได้โดยการไปจดแจ้งลิขสิทธิ์กับกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ครับ ส่วนเครื่องหมายการค้ากับสิทธิบัตรนั้นจะต้องจดทะเบียนก่อนจึงจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย โดยยึดหลักที่ว่าใครจดทะเบียนก่อนก็ได้มีสิทธิ์ก่อน คนที่มาทีหลังก็จะไม่สามารถจดทะเบียนซ้ำเดิมกับที่เราจดไปแล้วได้ครับ
มาถึงตรงนี้ทุกท่านก็คงเข้าใจมากขึ้นแล้วว่าจะจดคุ้มครองงานของตัวเองเป็นอะไรดีระหว่างลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร หรือเครื่องหมายการค้า แล้วอย่าลืมรีบจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาของทุกท่านกันนะครับจะได้ไม่ต้องมาปวดหัวเวลาถูกละเมิด
3.เครื่องหมายการค้า หมายถึงอะไร พร้อมยกตัวอย่าวรูปภาพ เครื่องหมายการค้า มา 5 เครื่องหมาย
ตอบ
- เครื่องหมายการค้าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543
1.ลักษณะทั่วไปของเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันของ “เครื่องหมาย” ซึ่งได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คำ ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุ่มของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ
2.ประเภทของเครื่องหมาย
กฎหมายให้ความคุ้มครองเครื่องหมายทั้งหมด 4 ประเภท คือ
2.1 เครื่องหมายการค้า
หมายถึง เครื่องหมาย หรือยี่ห้อ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างไปจาสินค้าของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
สินค้าบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
สินค้ายานพาหนะ
2.2 เครื่องหมายบริการ
หมายถึง เครื่องหมาย หรือยี่ห้อ หรือตราที่ใช้กับบริการเพื่อแสดงว่าริการที่ที่ใช้เครื่องหมายบริการนั้นแตกต่างไปจากบริการของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
บริการสายการบิน
บริการธนาคาร
2.3 เครื่องหมายรับรอง
หมายถึง เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้รับรองเกี่ยวกับแหล่งกำเนิด ส่วนประกอบ วิธีการผลิต คุณภาพ หรือคุณลักษณะอื่นใดของสินค้าของบุคคลอื่น หรือใช้รับรองเกี่ยวกับสภาพ คุณภาพ ชนิด หรือคุณลักษณะของบริการของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
เครื่องหมายรับรองเกี่ยวกับคุณภาพอาหาร
2.4 เครื่องหมายร่วม
หมายถึง เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้ในบริษัทเดียวกันหรือใช้ในองค์การเดียวกัน ตัวอย่างเช่น
กลุ่มบริษัทในเครือซีเมนต์ไทย
กลุ่มบริษัทในเครือปตท
3.การได้มาซึ่งความคุ้มครอง
เครื่องหมายการค้าจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ก็ต่อเมื่อนำเครื่องหมายการค้านั้นมายื่นขอรับความคุ้มครองและได้รับการจดทะเบียนจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เท่านั้น
4.เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์อย่างไร
อาจมองประโยชน์ได้ 2 ส่วน คือ
4.1 ส่วนของเจ้าของเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้ามีหน้าที่คุ้มครองผลประโยชน์ทางการค้าให้กับผู้เป็นเจ้าของที่ใช้เครื่องหมายการค้าในกิจการของตนตลอดจนเพิ่มมูลค่าให้กับชื่อเสียงในทางการค้า หรือที่เรียกว่า “กู๊ดวิลล์” (goodwill) แต่ทั้งนี้ ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้เครื่องหมายการค้าเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถจดจำ และจำแนกความแตกต่างระหว่างสินค้าของตนกับของคู่แข่งได้
4.2 ส่วนของผู้บริโภค
เครื่องหมายการค้าจะทำให้ผู้บริโภคสามารถจดจำและแยกแยะสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นจากสินค้าชนิดเดียวกันที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่น ซึ่งส่งผลให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพได้ตรงตามความต้องการและทราบถึงแหล่งที่มาของสินค้า หากสินค้านั้นมีความบกพร่องก็สามารถหาผู้รับผิดชอบได้
5. สิทธิเจ้าของเครื่องหมายการค้า
แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
5.1 เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียน
เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิที่จะใช้เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียนนั้น แต่จะฟ้องคดีเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า หรือเรียกค่าเสียหายตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ไม่ได้ เว้นแต่จะเป็นกรณีลวงขาย
5.2 เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
เจ้าของเครื่องหมายการค้า เป็นผู้มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะใช้เครื่องหมายการค้าของตนกับสินค้าที่ได้จดทะเบียนไว้และกรณีที่มีบุคคลอื่นละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วมีสิทธิที่จะฟ้องร้องเรียกค้าเสียหาย หรือฟ้องเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของตนได้ นอกจากนั้นเจ้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วยังสามารถโอนสิทธิหรือรับมรดกหรืออนุญาตให้บุคคลอื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วได้เช่นกัน
6.การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
ก่อนการยื่นขอจดทะเบียนเจ้าของเครื่องหมายการค้าควรขอตรวจค้นข้อมูลเบื้องต้นในฐานข้อมูลของกรมทรัพย์สินทางปัญญาเสียก่อนที่ยื่นขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของตน เพื่อตรวจค้นดูว่ามีเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่เหมือนหรือคล้ายกันกับเครื่องหมายการค้าที่จะยื่นขอจดทะเบียนหรือไม่ เพราะหากมมีเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายหันกับเครื่องหมายการค้าที่จะยื่นขอจดทะเบียนได้รับการจดทะเบียนไว้แล้ว เจ้าของเครื่องหมายการค้าก็จะไม่สามารถจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของตนได้ การขอตรวจค้นข้อมูลดังกล่าวสามารถขอตรวจค้นได้ทางอินเตอร์เน็ตหรือที่ศูนย์บริการทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์โดยมีค่าธรรมเนียมชั่วโมงละ 100 บาท
7.ลักษณะของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนได้
เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง และเครื่องหมายร่วมที่จะจดทะเบียนได้ ต้องมีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด 3 ประการ ดังนี้
7.1 มีลักษณะบ่งเฉพาะ
หมายถึง เครื่องหมายการค้านั้นต้องเป็นเครื่องหมายที่ถูกทำให้มีลักษณะพิเศษ โดดเด่นเฉพาะตัว แต่ต้องไม่สื่อความหมายโดยตรงเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ เพื่อที่จะทำให้ผู้บริโภคสามารถทราบและเข้าใจได้ว่าสินค้าหรือบริการที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างกับสินค้าหรือบริการของบุคคลอื่น เช่น คำที่ประดิษฐ์ขึ้นเองโดยไม่มีความหมายตามพจนานุกรม ลายมือชื่อ หรือภาพของเจ้าของเครื่องหมายการค้า เป็นต้น
7.2 ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย
หมายถึง เครื่องหมายการค้านั้นต้องไม่มีหรือไม่ประกอบไปด้วยลักษณะต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดห้ามไว้ เช่น ต้องไม่เป็นเครื่องหมายอันเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ธงประจำชาติ เครื่องหมายของหน่วยงานระหว่างประเทศ เครื่องหมายที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายที่มีชื่อเสียง เป็นต้น
7.3 ไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายของบุคคลอื่น
หมายถึง เครื่องหมายการค้าที่จะจดทะเบียนได้ต้องไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วจนอาจทำให้ผู้บริโภคสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของหรือแหล่งกำเนิดของสินค้าหรือบริการนั้น
8.อายุความคุ้มครอง
เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วมีอายุความคุ้มครอง 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ยื่นคำขอจดทะเบียนและสามารถขอชำระค่าธรรมเนียมเพื่อต่ออายุความคุ้มครองออกไปได้ทุกๆ 10 ปี (เท่ากับว่ามีความคุ้มครองไม่สิ้นสุดหากเจ้าของชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุไปโดยตลอด)
9.เอกสารประกอบคำขอจดทะเบียน
9.1 แบบพิมพ์คำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ( แบบ ก.01)
จำนวน 6 ชุด (ต้นฉบับ 1 ชุด สำเนา 5 ชุด) ให้กรอกข้อความในคำขอเป็นภาษาไทยให้ครบถ้วนโดยให้พิมพ์ดีดหรือพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ติดรูปเครื่องหมาย ที่ต้องการจดทะเบียน (ขนาด 5 x 5 ซ.ม.) และลงลายมือชื่อเจ้าของหรือตัวแทน
9.2 รูปเครื่องหมายการค้า
ที่เหมือนกับรูปที่ติดในคำขอจดทะเบียนจำนวน 5 รูป
9.3 บัตรประจำตัวเจ้าของ
แบ่งเป็น กรณีบุคคลธรรมดา ใช้สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่นๆ ที่ทางราชการออกให้ กรณีนิติบุคคล ใช้ต้นฉบับหนังสือรับรองนิติบุคคลฉบับนายทะเบียนรับรองและออกให้ไม่เกิน 6 เดือน
9.4 สำเนาหนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวผู้รับมอบอำนาจ (ถ้ามี)
ทั้งนี้ อาจใช้แบบพิมพ์ ก. 18 และถ้าต้นฉบับหนังสือมอบอำนาจเป็นภาษาต่างประเทศให้แปลเป็นภาษาไทยพร้อมรับรองความถูกต้อง
10. วิธีการและสถานที่ยื่นคำขอ
การยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าสามารถกระทำได้ 3 วิธี คือ
10.1 ยื่นคำขอด้วยตนเองต่อนายทะเบียน
พร้อมชำระค่าธรรมเนียม ณ ศูนย์บริการทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์หรือยื่นที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดทั่วประเทศ
10.2 ยื่นคำขอทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ถึงกรมทรัพย์สินทางปัญญาพร้อมชำระค่าธรรมเนียมโดยธนาณัติสั่งจ่าย “ กรมทรัพย์สินทางปัญญา”
10.3 ยื่นคำขอทางอินเตอร์เน็ต
พร้อมชำระค่าธรรมเนียมตามวิธีการที่กำหนดไว้ในเว็บไซต์ www.ipthailand.go.th
11. ค่าธรรมเนียม
ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า จะคิดตามจำนวนรายการสินค้าหรือบริการที่ยื่นขอจดทะเบียนไว้เป็นอย่างๆโดยแบ่งเป็น
11.1 ค่าธรรมเนียมคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
ผู้ขอต้องชำระค่าธรรมเนียมรายการสินค้าอย่างละ 500 บาท โดยชำระพร้อมการยื่นคำขอจดทะเบียน
11.2 ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
เป็นการคิดค่าธรรมเนียมภายหลังจากนายทะเบียนได้พิจารณาคำขอจดทะเบียนแล้ว โดยนายทะเบียนจะแจ้งให้ผู้ขอชำระค่าธรรมเนียมเมื่อครบกำหนดการประกาศโฆษณาและไมมีผู้ใดคัดค้านการจดทะเบียน ซึ่งผู้ขอต้องชำระค่าธรรมเนียมรายการสินค้าอย่างละ 300 บาท ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
4.พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560 มีว่าอย่างไรบ้าง สรุปมาเป็นข้อๆ
ตอบ
- เครื่องหมายการค้าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543
1.ลักษณะทั่วไปของเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกันของ “เครื่องหมาย” ซึ่งได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คำ ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุ่มของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ
2.ประเภทของเครื่องหมาย
กฎหมายให้ความคุ้มครองเครื่องหมายทั้งหมด 4 ประเภท คือ
2.1 เครื่องหมายการค้า
หมายถึง เครื่องหมาย หรือยี่ห้อ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างไปจาสินค้าของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
สินค้าบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
สินค้ายานพาหนะ
2.2 เครื่องหมายบริการ
หมายถึง เครื่องหมาย หรือยี่ห้อ หรือตราที่ใช้กับบริการเพื่อแสดงว่าริการที่ที่ใช้เครื่องหมายบริการนั้นแตกต่างไปจากบริการของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
บริการสายการบิน
บริการธนาคาร
2.3 เครื่องหมายรับรอง
หมายถึง เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้รับรองเกี่ยวกับแหล่งกำเนิด ส่วนประกอบ วิธีการผลิต คุณภาพ หรือคุณลักษณะอื่นใดของสินค้าของบุคคลอื่น หรือใช้รับรองเกี่ยวกับสภาพ คุณภาพ ชนิด หรือคุณลักษณะของบริการของบุคคลอื่น ตัวอย่างเช่น
เครื่องหมายรับรองเกี่ยวกับคุณภาพอาหาร
2.4 เครื่องหมายร่วม
หมายถึง เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้ในบริษัทเดียวกันหรือใช้ในองค์การเดียวกัน ตัวอย่างเช่น
กลุ่มบริษัทในเครือซีเมนต์ไทย
กลุ่มบริษัทในเครือปตท
3.การได้มาซึ่งความคุ้มครอง
เครื่องหมายการค้าจะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ก็ต่อเมื่อนำเครื่องหมายการค้านั้นมายื่นขอรับความคุ้มครองและได้รับการจดทะเบียนจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เท่านั้น
4.เครื่องหมายการค้ามีประโยชน์อย่างไร
อาจมองประโยชน์ได้ 2 ส่วน คือ
4.1 ส่วนของเจ้าของเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้ามีหน้าที่คุ้มครองผลประโยชน์ทางการค้าให้กับผู้เป็นเจ้าของที่ใช้เครื่องหมายการค้าในกิจการของตนตลอดจนเพิ่มมูลค่าให้กับชื่อเสียงในทางการค้า หรือที่เรียกว่า “กู๊ดวิลล์” (goodwill) แต่ทั้งนี้ ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้เครื่องหมายการค้าเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถจดจำ และจำแนกความแตกต่างระหว่างสินค้าของตนกับของคู่แข่งได้
4.2 ส่วนของผู้บริโภค
เครื่องหมายการค้าจะทำให้ผู้บริโภคสามารถจดจำและแยกแยะสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นจากสินค้าชนิดเดียวกันที่ใช้เครื่องหมายการค้าอื่น ซึ่งส่งผลให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพได้ตรงตามความต้องการและทราบถึงแหล่งที่มาของสินค้า หากสินค้านั้นมีความบกพร่องก็สามารถหาผู้รับผิดชอบได้
5. สิทธิเจ้าของเครื่องหมายการค้า
แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
5.1 เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียน
เจ้าของเครื่องหมายการค้ามีสิทธิที่จะใช้เครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียนนั้น แต่จะฟ้องคดีเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า หรือเรียกค่าเสียหายตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ไม่ได้ เว้นแต่จะเป็นกรณีลวงขาย
5.2 เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
เจ้าของเครื่องหมายการค้า เป็นผู้มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะใช้เครื่องหมายการค้าของตนกับสินค้าที่ได้จดทะเบียนไว้และกรณีที่มีบุคคลอื่นละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วมีสิทธิที่จะฟ้องร้องเรียกค้าเสียหาย หรือฟ้องเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของตนได้ นอกจากนั้นเจ้าของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วยังสามารถโอนสิทธิหรือรับมรดกหรืออนุญาตให้บุคคลอื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วได้เช่นกัน
6.การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
ก่อนการยื่นขอจดทะเบียนเจ้าของเครื่องหมายการค้าควรขอตรวจค้นข้อมูลเบื้องต้นในฐานข้อมูลของกรมทรัพย์สินทางปัญญาเสียก่อนที่ยื่นขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของตน เพื่อตรวจค้นดูว่ามีเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่เหมือนหรือคล้ายกันกับเครื่องหมายการค้าที่จะยื่นขอจดทะเบียนหรือไม่ เพราะหากมมีเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายหันกับเครื่องหมายการค้าที่จะยื่นขอจดทะเบียนได้รับการจดทะเบียนไว้แล้ว เจ้าของเครื่องหมายการค้าก็จะไม่สามารถจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของตนได้ การขอตรวจค้นข้อมูลดังกล่าวสามารถขอตรวจค้นได้ทางอินเตอร์เน็ตหรือที่ศูนย์บริการทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์โดยมีค่าธรรมเนียมชั่วโมงละ 100 บาท
7.ลักษณะของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนได้
เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง และเครื่องหมายร่วมที่จะจดทะเบียนได้ ต้องมีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด 3 ประการ ดังนี้
7.1 มีลักษณะบ่งเฉพาะ
หมายถึง เครื่องหมายการค้านั้นต้องเป็นเครื่องหมายที่ถูกทำให้มีลักษณะพิเศษ โดดเด่นเฉพาะตัว แต่ต้องไม่สื่อความหมายโดยตรงเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ เพื่อที่จะทำให้ผู้บริโภคสามารถทราบและเข้าใจได้ว่าสินค้าหรือบริการที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างกับสินค้าหรือบริการของบุคคลอื่น เช่น คำที่ประดิษฐ์ขึ้นเองโดยไม่มีความหมายตามพจนานุกรม ลายมือชื่อ หรือภาพของเจ้าของเครื่องหมายการค้า เป็นต้น
7.2 ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย
หมายถึง เครื่องหมายการค้านั้นต้องไม่มีหรือไม่ประกอบไปด้วยลักษณะต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดห้ามไว้ เช่น ต้องไม่เป็นเครื่องหมายอันเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ธงประจำชาติ เครื่องหมายของหน่วยงานระหว่างประเทศ เครื่องหมายที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายที่มีชื่อเสียง เป็นต้น
7.3 ไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายของบุคคลอื่น
หมายถึง เครื่องหมายการค้าที่จะจดทะเบียนได้ต้องไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วจนอาจทำให้ผู้บริโภคสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของหรือแหล่งกำเนิดของสินค้าหรือบริการนั้น
8.อายุความคุ้มครอง
เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วมีอายุความคุ้มครอง 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ยื่นคำขอจดทะเบียนและสามารถขอชำระค่าธรรมเนียมเพื่อต่ออายุความคุ้มครองออกไปได้ทุกๆ 10 ปี (เท่ากับว่ามีความคุ้มครองไม่สิ้นสุดหากเจ้าของชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุไปโดยตลอด)
9.เอกสารประกอบคำขอจดทะเบียน
9.1 แบบพิมพ์คำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ( แบบ ก.01)
จำนวน 6 ชุด (ต้นฉบับ 1 ชุด สำเนา 5 ชุด) ให้กรอกข้อความในคำขอเป็นภาษาไทยให้ครบถ้วนโดยให้พิมพ์ดีดหรือพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ติดรูปเครื่องหมาย ที่ต้องการจดทะเบียน (ขนาด 5 x 5 ซ.ม.) และลงลายมือชื่อเจ้าของหรือตัวแทน
9.2 รูปเครื่องหมายการค้า
ที่เหมือนกับรูปที่ติดในคำขอจดทะเบียนจำนวน 5 รูป
9.3 บัตรประจำตัวเจ้าของ
แบ่งเป็น กรณีบุคคลธรรมดา ใช้สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่นๆ ที่ทางราชการออกให้ กรณีนิติบุคคล ใช้ต้นฉบับหนังสือรับรองนิติบุคคลฉบับนายทะเบียนรับรองและออกให้ไม่เกิน 6 เดือน
9.4 สำเนาหนังสือมอบอำนาจ และสำเนาบัตรประจำตัวผู้รับมอบอำนาจ (ถ้ามี)
ทั้งนี้ อาจใช้แบบพิมพ์ ก. 18 และถ้าต้นฉบับหนังสือมอบอำนาจเป็นภาษาต่างประเทศให้แปลเป็นภาษาไทยพร้อมรับรองความถูกต้อง
10. วิธีการและสถานที่ยื่นคำขอ
การยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าสามารถกระทำได้ 3 วิธี คือ
10.1 ยื่นคำขอด้วยตนเองต่อนายทะเบียน
พร้อมชำระค่าธรรมเนียม ณ ศูนย์บริการทรัพย์สินทางปัญญา ชั้น 3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์หรือยื่นที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดทั่วประเทศ
10.2 ยื่นคำขอทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ถึงกรมทรัพย์สินทางปัญญาพร้อมชำระค่าธรรมเนียมโดยธนาณัติสั่งจ่าย “ กรมทรัพย์สินทางปัญญา”
10.3 ยื่นคำขอทางอินเตอร์เน็ต
พร้อมชำระค่าธรรมเนียมตามวิธีการที่กำหนดไว้ในเว็บไซต์ www.ipthailand.go.th
11. ค่าธรรมเนียม
ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า จะคิดตามจำนวนรายการสินค้าหรือบริการที่ยื่นขอจดทะเบียนไว้เป็นอย่างๆโดยแบ่งเป็น
11.1 ค่าธรรมเนียมคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
ผู้ขอต้องชำระค่าธรรมเนียมรายการสินค้าอย่างละ 500 บาท โดยชำระพร้อมการยื่นคำขอจดทะเบียน
11.2 ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
เป็นการคิดค่าธรรมเนียมภายหลังจากนายทะเบียนได้พิจารณาคำขอจดทะเบียนแล้ว โดยนายทะเบียนจะแจ้งให้ผู้ขอชำระค่าธรรมเนียมเมื่อครบกำหนดการประกาศโฆษณาและไมมีผู้ใดคัดค้านการจดทะเบียน ซึ่งผู้ขอต้องชำระค่าธรรมเนียมรายการสินค้าอย่างละ 300 บาท ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
4.พรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560 มีว่าอย่างไรบ้าง สรุปมาเป็นข้อๆ
ตอบ
1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท
2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท
3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท
4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม
5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3
6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด
7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผู้พ้นผิด
8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้
9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติ
10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย
11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้โพสต์ได้ และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ
13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้
สรุป : จะช่วยป้องกันไม่ให้เราเสี่ยงต่อการทำผิดกฎหมายได้
5.ให้นักเรียนค้นหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ โดยนำ link มาตอบด้านล่าง
ตอบ https://www.thairath.co.th/content/1060239
2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท
3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท
4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม
5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3
6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด
7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผู้พ้นผิด
8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้
9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติ
10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย
11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้โพสต์ได้ และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ
13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้
สรุป : จะช่วยป้องกันไม่ให้เราเสี่ยงต่อการทำผิดกฎหมายได้
5.ให้นักเรียนค้นหาข่าวที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ โดยนำ link มาตอบด้านล่าง
ตอบ https://www.thairath.co.th/content/1060239
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น